บุคลากรคอมพิวเตอร์เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ เรียกว่าบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้หรือยูสเซอร์ (User) แบ่งตามลักษณะงานได้ดังนี้
1. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analysis and Designer) ได้แก่ วิศวกรระบบ เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล เป็นผู้ทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล
2. เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) คือ เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม เป็นผู้ทำการพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรม
3. เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) ได้แก่ผู้ดำเนินการกับเครื่องและอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อทำการบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวลผล
4. เจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) ทำการพัฒนาและบำรุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์
5. ผู้บริการศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่บริหารงานในหน่วยประมวลผลข้อมูลเป็นต้น
แบบฝึกหัดที่ 11
เรื่อง ลักษณะงานของบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์
ชื่อ-สกุล………………………………………………..เลขที่…..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่……….
คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1.วิศวกรระบบ เป็นบุคลากรคอมพิวเตอร์ในด้านใด
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2. Programmer มีหน้าที่อย่างไร
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3. Data Entry Operator กับ Computer Operator มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
วันศุกร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556
ใบความรู้ที่ 10 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบด้านระบบสื่อสารข้อมูล ( Data Communication ) หมายถึงระบบสื่อสารและอุปกรณ์ที่ช่วยให้เราสามารถส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปถึงเครื่องหนึ่งที่อยู่ห่างไกลออกไปได้ การสื่อสารในระบบคอมพิวเตอร์ จำแนกตามลักษณะการใช้งานได้ 4 ประเภท คือ
1. การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ โดยใช้เทอร์มินัลส่งและรับสารสนเทศผ่านสารโทรศัพท์ ใช้กันมากในธุรกิจการเงิน การธนาคาร และงานด้านพัสดุ
2. คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ ใช้ในกรณีที่ต้องการฐานข้อมูลหรือส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างศูนย์คอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกศูนย์คอมพิวเตอร์หนึ่งผ่านเครือข่ายโทรศัพท์
3. การรับและส่งผ่านสารสนเทศ โดยมีคอมพิวเตอร์ชนิดพิเศษทำหน้าที่เป็นสวิตซ์รับและส่งสารสนเทศตามจุดหมายปลายทางที่กำหนด ทำให้สามารถบริการสารสนเทศจำนวนมากในเวลาจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. การแบ่งเวลาเครื่อง วิธีใช้เป็นการสื่อสารข้อมูลระดับสูง มีความซับซ้อนด้านเทคนิควิธีโดยเฉพาะระบบควบคุมศักยภาพของระบบนี้ได้แก่ ติดต่อสื่อสารสนเทศกับผู้ใช้ทางไกลตอบรับทันทีที่ผู้ใช้ปลายทางร้องขอบริการผู้ใช้หลายคนได้ในเวลาเดียวกันอนุญาตให้ผู้ใช้ปลายทางใช้โปรแกรมต่างกันได้
การสื่อสารข้อมูลเป็นกระบวนการส่งผ่านและรับสารสนเทศระยะไกลในรูปแบบของสัญญาณแล้วแพร่กระจ่ายผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร และคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ ดังนี้
1. อุปกรณ์การแสดงสารสนเทศ ได้แก่ จอภาพคอมพิวเตอร์ เทอร์มินัล ชนิดต่าง ๆ เครื่องพิมพ์ และหน่วยประมวลผลกลาง ฯลฯ
2. อุปกรณ์ส่งผ่านสารสนเทศ ได้แก่ อุปกรณ์ประเภทสาย เช่น สารเคเบิล สาย Coaxial สายโทรศัพท์ สายใยแก้วนำแสง เป็นต้น
3. อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล ได้แก่ โมเด็ม อุปกรณ์ประเภท Line Driven และ Multiplexes เป็นต้น
แบบฝึกหัดที่ 10
เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด
1. ประเภทของระบบสื่อสารข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
2. จงอธิบายกรณีสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
3. ระบบสื่อสารข้อมูลประเภทใดนิยมใช้กับด้านการเงิน การธนาคาร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
4. จงบอกองค์ประกอบการสื่อสารข้อมูลทั้ง 3 ประการมีอะไรบ้าง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
1. การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ โดยใช้เทอร์มินัลส่งและรับสารสนเทศผ่านสารโทรศัพท์ ใช้กันมากในธุรกิจการเงิน การธนาคาร และงานด้านพัสดุ
2. คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ ใช้ในกรณีที่ต้องการฐานข้อมูลหรือส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างศูนย์คอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกศูนย์คอมพิวเตอร์หนึ่งผ่านเครือข่ายโทรศัพท์
3. การรับและส่งผ่านสารสนเทศ โดยมีคอมพิวเตอร์ชนิดพิเศษทำหน้าที่เป็นสวิตซ์รับและส่งสารสนเทศตามจุดหมายปลายทางที่กำหนด ทำให้สามารถบริการสารสนเทศจำนวนมากในเวลาจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. การแบ่งเวลาเครื่อง วิธีใช้เป็นการสื่อสารข้อมูลระดับสูง มีความซับซ้อนด้านเทคนิควิธีโดยเฉพาะระบบควบคุมศักยภาพของระบบนี้ได้แก่ ติดต่อสื่อสารสนเทศกับผู้ใช้ทางไกลตอบรับทันทีที่ผู้ใช้ปลายทางร้องขอบริการผู้ใช้หลายคนได้ในเวลาเดียวกันอนุญาตให้ผู้ใช้ปลายทางใช้โปรแกรมต่างกันได้
การสื่อสารข้อมูลเป็นกระบวนการส่งผ่านและรับสารสนเทศระยะไกลในรูปแบบของสัญญาณแล้วแพร่กระจ่ายผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร และคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ ดังนี้
1. อุปกรณ์การแสดงสารสนเทศ ได้แก่ จอภาพคอมพิวเตอร์ เทอร์มินัล ชนิดต่าง ๆ เครื่องพิมพ์ และหน่วยประมวลผลกลาง ฯลฯ
2. อุปกรณ์ส่งผ่านสารสนเทศ ได้แก่ อุปกรณ์ประเภทสาย เช่น สารเคเบิล สาย Coaxial สายโทรศัพท์ สายใยแก้วนำแสง เป็นต้น
3. อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล ได้แก่ โมเด็ม อุปกรณ์ประเภท Line Driven และ Multiplexes เป็นต้น
แบบฝึกหัดที่ 10
เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด
1. ประเภทของระบบสื่อสารข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
2. จงอธิบายกรณีสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
3. ระบบสื่อสารข้อมูลประเภทใดนิยมใช้กับด้านการเงิน การธนาคาร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
4. จงบอกองค์ประกอบการสื่อสารข้อมูลทั้ง 3 ประการมีอะไรบ้าง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ใบความรู้ที่ 9 เรื่อง ระเบียบปฏิบัติและกระบวนการทำงานด้านคอมพิวเตอร์
ระเบียบปฏิบัติและกระบวนงานเป็นการกำหนดเกณฑ์ขั้นพื้นฐานให้กับบุคลากรในหน่วยงานได้ถือปฏิบัติร่วมกันเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ ลักษณะและความสำคัญของระเบียบปฏิบัติการและกระบวนงานมีดังนี้
1. ระเบียบปฏิบัติ
เป็นเครื่องมือสำหรับกำกับให้ผู้ที่มีพื้นฐานต่างกัน มีความรู้ ความเข้าใจ และความสำนึกในความถูกต้องพอเหมาะพอควรต่างกัน ให้สามารถทำงานร่วมกันได้โดยมีความขัดแย้งกันน้อยที่สุด เป็นเครื่องมือสำหรับให้ฝ่ายบริการสามารถดูแลให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นไม่เกิดความเสียหายหรือสูญเสีย หรือถ้าเกิดก็จะเสียหายน้อยที่สุด ซึ่งจำแนกออกเป็นด้านต่าง ๆ ได้ดังนี้
1.1 ระเบียบในด้านสถานที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ เป็นระเบียบที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติในห้องที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ไว้ใช้งาน ในหน่วยงานที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มีห้องพิเศษที่ปรับอากาศและมียกพื้นพิเศษนั้น มักจะห้ามนำเครื่องดื่มและอาหารเข้าไป ทั้งนี้เพื่อป้องกันแมลง จิ้งจก และหนูที่จะเข้าไปกินอาหาร
1.2 ระเบียบเกี่ยวกับการเข้าไปในห้องคอมพิวเตอร์ ก็เป็นเรื่องจำเป็น บางแห่งนั้นใช้คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลที่เป็นความลับ การปล่อยให้ใครต่อใครเดินเพ่นพ่านผ่านเข้าไปในห้องย่อมไม่ปลอดภัยต่อข้อมูล วิธีกันก็คือปิดประตูและใช้ลูกบิด หรือกุญแจพิเศษสำหรับเปิดประตูและทางที่ดีก็กำหนดไว้เป็นระเบียบว่าใครมีหน้าที่เข้าไปในห้องที่ตั้งเครื่องหรือที่เก็บข้อมูล
1.3 ระเบียบด้านการจัดหา การติดตั้ง และการสำเนาซอฟต์แวร์ เมื่อซื้อซอฟต์แวร์มาแล้ว ควรนำไปตรวจสอบไวรัสคอมพิวเตอร์ ดำเนินการสำเนาซอฟต์แวร์นั้นเพื่อนำแผ่นที่เป็นชุดสำเนาไปใช้
1.4 ระเบียบด้านการดูแลซ่อมบำรุง เป็นเรื่องจำเป็นต้องมีขั้นตอนและวิธีการที่รัดกุม ไม่ใช่ปล่อยให้ผู้ใช้ดูกันเอง ย้ายเครื่องพิมพ์เครื่องนี้ไปไว้ที่โน่นที่นี่
1.5 ระเบียบด้านการบันทึก การใช้ การปรับปรุงข้อมูล ตลอดจนการเก็บรักษาและทำลายแฟ้มข้อมูลก็เป็นเครื่องที่จะต้องจัดทำขึ้นอย่างละเอียดครอบครอบ เพราะข้อมูลนั้นเป็นทรัพยากรที่สำคัญของหน่วยงาน
1.6 ระเบียบด้านการส่งเอกสารที่พิมพ์จากคอมพิวเตอร์ก็ควรจะมีไว้ เพื่อควบคุมการพิมพ์และเพื่อให้แน่ใจว่าได้จัดส่งเอกสารนั้น ๆ ไปถึงมือผู้ใช้ได้ครบถ้วน
2. คู่มือ
คือมือมีความสำคัญมากต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์ ดังนั้นเราควรตรวจตราว่าการจัดซื้อหาคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ของส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์และปุ่มต่าง ๆ มีการอธิบายการเชื่อมต่อสายเข้ากับอุปกรณ์อื่น ๆ และอาจมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างง่ายไว้ด้วย
2.1 คู่มือฮาร์ดแวร์ ส่วนมากเป็นคู่มือด้านเทคนิคที่อธิบายหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์และปุ่มต่าง ๆ อธิบายการเชื่อมต่อสารเข้ากับอุปกรณ์อื่น ๆ และอาจมีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างง่ายไว้ด้วย
2.2 คู่มือซอฟต์แวร์ มีสองประเภทใหญ่ ๆ ประเภทแรกคือ Operation Manual หรือคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับพนักงานคุมเครื่อง ประเภทที่สองคือ User Manual หรือคู่มือผู้ใช้ ซึ่งอธิบายวิธีการใช้ซอฟต์แวร์ในแบบง่าย ๆ ว่าจะเริ่มใช้อย่างไร
3. มาตรฐาน
การใช้คอมพิวเตอร์ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐนั้นยังมีปัญหาและอุปสรรคในด้านมาตรฐานเกือบทุกเรื่อง ปัจจุบันประเทศไทยมีมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับด้านคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ ดังนี้
3.1 มาตรฐานรหัสภาษาไทย ที่เรียกว่า สมอ. และแทนมาตรฐานแป้นพิมพ์โดยรหัส สมอ. เป็นรหัสที่กำหนดวิธีใช้ตัวเลข 0 กับ 1 สำหรับแทนตัวอักษรไทยในระบบคอมพิวเตอร์ มาตรฐานแป้นพิมพ์เป็นมาตรฐานที่กำหนดตำแหน่งของตัวอักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์ต่าง ๆ ตลอดจนปุ่มฟังก์ชั่นต่าง ๆ บนแป้นพิมพ์ ทั้งนี้เพื่อให้การใช้งานเป็นไปในแบบเดียวกันไม่มีปัญหาในการพิมพ์
3.2 มาตรฐานด้านรหัส คำ และชื่อต่าง ๆ จะต้องมีหน่วยงานกลางเป็นผู้กำหนด เช่น ราชบัณฑิตยสถานต้องประกาศให้ใช้คำว่า “โลกาภิวัตน์” เป็นต้น
3.3 มาตรฐานด้านวิธีการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในด้านการวิเคราะห์ระบบงานและการออกแบบระบบงาน ควรเน้นให้เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์ เพราะสิ่งที่เป็นงานวิทยาศาสตร์นั้นตรวจสอบได้ง่ายว่าถูกต้องหรือผิดพลาดประการใด
แบบฝึกหัดที่ 9
เรื่อง ระเบียบปฏิบัติและกระบวนการทำงานด้านคอมพิวเตอร์
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด
1. จงบอกระเบียบการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
2. คู่มือการใช้งานมีความสำคัญอย่างไร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
3. รหัสมาตรฐานภาษาไทยคือรหัสใด
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
4. มาตรฐานการทำงานด้านคอมพิวเตอร์มีกี่อย่างอะไรบ้าง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
1. ระเบียบปฏิบัติ
เป็นเครื่องมือสำหรับกำกับให้ผู้ที่มีพื้นฐานต่างกัน มีความรู้ ความเข้าใจ และความสำนึกในความถูกต้องพอเหมาะพอควรต่างกัน ให้สามารถทำงานร่วมกันได้โดยมีความขัดแย้งกันน้อยที่สุด เป็นเครื่องมือสำหรับให้ฝ่ายบริการสามารถดูแลให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นไม่เกิดความเสียหายหรือสูญเสีย หรือถ้าเกิดก็จะเสียหายน้อยที่สุด ซึ่งจำแนกออกเป็นด้านต่าง ๆ ได้ดังนี้
1.1 ระเบียบในด้านสถานที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ เป็นระเบียบที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติในห้องที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ไว้ใช้งาน ในหน่วยงานที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มีห้องพิเศษที่ปรับอากาศและมียกพื้นพิเศษนั้น มักจะห้ามนำเครื่องดื่มและอาหารเข้าไป ทั้งนี้เพื่อป้องกันแมลง จิ้งจก และหนูที่จะเข้าไปกินอาหาร
1.2 ระเบียบเกี่ยวกับการเข้าไปในห้องคอมพิวเตอร์ ก็เป็นเรื่องจำเป็น บางแห่งนั้นใช้คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลที่เป็นความลับ การปล่อยให้ใครต่อใครเดินเพ่นพ่านผ่านเข้าไปในห้องย่อมไม่ปลอดภัยต่อข้อมูล วิธีกันก็คือปิดประตูและใช้ลูกบิด หรือกุญแจพิเศษสำหรับเปิดประตูและทางที่ดีก็กำหนดไว้เป็นระเบียบว่าใครมีหน้าที่เข้าไปในห้องที่ตั้งเครื่องหรือที่เก็บข้อมูล
1.3 ระเบียบด้านการจัดหา การติดตั้ง และการสำเนาซอฟต์แวร์ เมื่อซื้อซอฟต์แวร์มาแล้ว ควรนำไปตรวจสอบไวรัสคอมพิวเตอร์ ดำเนินการสำเนาซอฟต์แวร์นั้นเพื่อนำแผ่นที่เป็นชุดสำเนาไปใช้
1.4 ระเบียบด้านการดูแลซ่อมบำรุง เป็นเรื่องจำเป็นต้องมีขั้นตอนและวิธีการที่รัดกุม ไม่ใช่ปล่อยให้ผู้ใช้ดูกันเอง ย้ายเครื่องพิมพ์เครื่องนี้ไปไว้ที่โน่นที่นี่
1.5 ระเบียบด้านการบันทึก การใช้ การปรับปรุงข้อมูล ตลอดจนการเก็บรักษาและทำลายแฟ้มข้อมูลก็เป็นเครื่องที่จะต้องจัดทำขึ้นอย่างละเอียดครอบครอบ เพราะข้อมูลนั้นเป็นทรัพยากรที่สำคัญของหน่วยงาน
1.6 ระเบียบด้านการส่งเอกสารที่พิมพ์จากคอมพิวเตอร์ก็ควรจะมีไว้ เพื่อควบคุมการพิมพ์และเพื่อให้แน่ใจว่าได้จัดส่งเอกสารนั้น ๆ ไปถึงมือผู้ใช้ได้ครบถ้วน
2. คู่มือ
คือมือมีความสำคัญมากต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์ ดังนั้นเราควรตรวจตราว่าการจัดซื้อหาคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ของส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์และปุ่มต่าง ๆ มีการอธิบายการเชื่อมต่อสายเข้ากับอุปกรณ์อื่น ๆ และอาจมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างง่ายไว้ด้วย
2.1 คู่มือฮาร์ดแวร์ ส่วนมากเป็นคู่มือด้านเทคนิคที่อธิบายหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์และปุ่มต่าง ๆ อธิบายการเชื่อมต่อสารเข้ากับอุปกรณ์อื่น ๆ และอาจมีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างง่ายไว้ด้วย
2.2 คู่มือซอฟต์แวร์ มีสองประเภทใหญ่ ๆ ประเภทแรกคือ Operation Manual หรือคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับพนักงานคุมเครื่อง ประเภทที่สองคือ User Manual หรือคู่มือผู้ใช้ ซึ่งอธิบายวิธีการใช้ซอฟต์แวร์ในแบบง่าย ๆ ว่าจะเริ่มใช้อย่างไร
3. มาตรฐาน
การใช้คอมพิวเตอร์ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐนั้นยังมีปัญหาและอุปสรรคในด้านมาตรฐานเกือบทุกเรื่อง ปัจจุบันประเทศไทยมีมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับด้านคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ ดังนี้
3.1 มาตรฐานรหัสภาษาไทย ที่เรียกว่า สมอ. และแทนมาตรฐานแป้นพิมพ์โดยรหัส สมอ. เป็นรหัสที่กำหนดวิธีใช้ตัวเลข 0 กับ 1 สำหรับแทนตัวอักษรไทยในระบบคอมพิวเตอร์ มาตรฐานแป้นพิมพ์เป็นมาตรฐานที่กำหนดตำแหน่งของตัวอักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์ต่าง ๆ ตลอดจนปุ่มฟังก์ชั่นต่าง ๆ บนแป้นพิมพ์ ทั้งนี้เพื่อให้การใช้งานเป็นไปในแบบเดียวกันไม่มีปัญหาในการพิมพ์
3.2 มาตรฐานด้านรหัส คำ และชื่อต่าง ๆ จะต้องมีหน่วยงานกลางเป็นผู้กำหนด เช่น ราชบัณฑิตยสถานต้องประกาศให้ใช้คำว่า “โลกาภิวัตน์” เป็นต้น
3.3 มาตรฐานด้านวิธีการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในด้านการวิเคราะห์ระบบงานและการออกแบบระบบงาน ควรเน้นให้เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์ เพราะสิ่งที่เป็นงานวิทยาศาสตร์นั้นตรวจสอบได้ง่ายว่าถูกต้องหรือผิดพลาดประการใด
แบบฝึกหัดที่ 9
เรื่อง ระเบียบปฏิบัติและกระบวนการทำงานด้านคอมพิวเตอร์
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด
1. จงบอกระเบียบการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
2. คู่มือการใช้งานมีความสำคัญอย่างไร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
3. รหัสมาตรฐานภาษาไทยคือรหัสใด
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
4. มาตรฐานการทำงานด้านคอมพิวเตอร์มีกี่อย่างอะไรบ้าง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์โดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ หรือไม่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือก็สามารถสร้างสารสนเทศที่ดีได้
คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีและมีประโยชน์มีคุณสมบัติดังนี้
1. มีความสัมพันธ์กัน (Relevant)
2. มีความทันสมัย (Timely)
3. มีความถูกต้องแม่นยำ (Accurate)
4. มีความกระชับรัดกุม (Concise)
5. มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (Complete)
คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of Information)
สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้
1. สารสนเทศที่ดีต้องมีความความถูกต้อง (Accurate) และไม่มีความผิดพลาด
2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่เหมาะสม ตาม ความต้องการของผู้ใช้
3. สารสนเทศต้องมีความชัดเจน (Clarity) ไม่คลุมเครือ
4. สารสนเทศที่ดีต้องมีความสมบูรณ์ (Complete) บรรจุไปด้วยข้อเท็จจริงที่มีสำคัญครบถ้วน
5. สารสนเทศต้องมีความกะทัดรัด (Conciseness) หรือรัดกุม เหมาะสมกับผู้ใช้
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้องสร้างดุลยภาพ ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกับราคาที่ใช้ในการผลิต
7. ต้องมีความยึดหยุ่น (Flexible) สามารถในไปใช้ในหลาย ๆ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์
8. สารสนเทศที่ดีต้องมีรูปแบบการนำเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
9. สารสนเทศที่ดีต้องตรงกับความต้องการ (Relevant/Precision) ของผู้ที่ทำการตัดสินใจ
10. สารสนเทศที่ดีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่าเชื่อ ถือ หรือแหล่ง (Source) ที่น่าเชื่อถือ เป็นต้น
11. สารสนเทศที่ดีควรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไม่มีสิทธิใช้สารสนเทศ
12. สารสนเทศที่ดีควรง่าย (Simple) ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียดที่เหมาะสม (ไม่มากเกินความจำเป็น)
13. สารสนเทศที่ดีต้องมีความแตกต่าง หรือประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอื่น ๆ
14. สารสนเทศที่ดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือสามารถส่ง ถึงผู้รับได้ในเวลาที่ผู้ใช้ต้องการ
15. สารสนเทศที่ดีต้องเป็นปัจจุบัน (Up to Date) หรือมีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
16. สารสนเทศที่ดีต้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามีความถูกต้อง
นอกจากนั้นสารสนเทศมีคุณสมบัติที่แตกต่างไปจากสินค้าประเภทอื่น ๆ 4 ประการคือ ใช้ไม่หมด ไม่สามารถ ถ่ายโอนได้ แบ่งแยกไม่ได้ และสะสมเพิ่มพูนได้ หรืออาจสรุปได้ว่าสารสนเทศ ที่ดีต้องมีคุณลักษณะครบทั้ง 4 ด้าน คือ
ด้านเวลา ( ทันเวลา และทันสมัย )
ด้านเนื้อหา ( ถูกต้อง สมบูรณ์ ยึดหยุ่น น่าเชื่อถือ ตรงกับ ความต้องการ และตรวจสอบได้ )
ด้านรูปแบบ ( ชัดเจน กะทัดรัด ง่าย รูปแบบการนำเสนอ ประหยัด แปลก )
ด้าน กระบวนการ ( เข้าถึงได้ และปลอดภัย )
แบบฝึกหัดที่ 8
เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด
1. คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีและมีประโยชน์จะต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
2. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสารสนเทศมีประโยชน์อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
3. สรุปได้ว่าสารสนเทศที่ดีต้องมีคุณลักษณะครบกี่ด้าน อะไรบ้าง จงอธิบาย
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีและมีประโยชน์มีคุณสมบัติดังนี้
1. มีความสัมพันธ์กัน (Relevant)
2. มีความทันสมัย (Timely)
3. มีความถูกต้องแม่นยำ (Accurate)
4. มีความกระชับรัดกุม (Concise)
5. มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (Complete)
คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of Information)
สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้
1. สารสนเทศที่ดีต้องมีความความถูกต้อง (Accurate) และไม่มีความผิดพลาด
2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่เหมาะสม ตาม ความต้องการของผู้ใช้
3. สารสนเทศต้องมีความชัดเจน (Clarity) ไม่คลุมเครือ
4. สารสนเทศที่ดีต้องมีความสมบูรณ์ (Complete) บรรจุไปด้วยข้อเท็จจริงที่มีสำคัญครบถ้วน
5. สารสนเทศต้องมีความกะทัดรัด (Conciseness) หรือรัดกุม เหมาะสมกับผู้ใช้
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้องสร้างดุลยภาพ ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกับราคาที่ใช้ในการผลิต
7. ต้องมีความยึดหยุ่น (Flexible) สามารถในไปใช้ในหลาย ๆ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์
8. สารสนเทศที่ดีต้องมีรูปแบบการนำเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
9. สารสนเทศที่ดีต้องตรงกับความต้องการ (Relevant/Precision) ของผู้ที่ทำการตัดสินใจ
10. สารสนเทศที่ดีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่าเชื่อ ถือ หรือแหล่ง (Source) ที่น่าเชื่อถือ เป็นต้น
11. สารสนเทศที่ดีควรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไม่มีสิทธิใช้สารสนเทศ
12. สารสนเทศที่ดีควรง่าย (Simple) ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียดที่เหมาะสม (ไม่มากเกินความจำเป็น)
13. สารสนเทศที่ดีต้องมีความแตกต่าง หรือประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอื่น ๆ
14. สารสนเทศที่ดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือสามารถส่ง ถึงผู้รับได้ในเวลาที่ผู้ใช้ต้องการ
15. สารสนเทศที่ดีต้องเป็นปัจจุบัน (Up to Date) หรือมีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
16. สารสนเทศที่ดีต้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามีความถูกต้อง
นอกจากนั้นสารสนเทศมีคุณสมบัติที่แตกต่างไปจากสินค้าประเภทอื่น ๆ 4 ประการคือ ใช้ไม่หมด ไม่สามารถ ถ่ายโอนได้ แบ่งแยกไม่ได้ และสะสมเพิ่มพูนได้ หรืออาจสรุปได้ว่าสารสนเทศ ที่ดีต้องมีคุณลักษณะครบทั้ง 4 ด้าน คือ
ด้านเวลา ( ทันเวลา และทันสมัย )
ด้านเนื้อหา ( ถูกต้อง สมบูรณ์ ยึดหยุ่น น่าเชื่อถือ ตรงกับ ความต้องการ และตรวจสอบได้ )
ด้านรูปแบบ ( ชัดเจน กะทัดรัด ง่าย รูปแบบการนำเสนอ ประหยัด แปลก )
ด้าน กระบวนการ ( เข้าถึงได้ และปลอดภัย )
แบบฝึกหัดที่ 8
เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด
1. คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีและมีประโยชน์จะต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
2. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสารสนเทศมีประโยชน์อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
3. สรุปได้ว่าสารสนเทศที่ดีต้องมีคุณลักษณะครบกี่ด้าน อะไรบ้าง จงอธิบาย
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างระบบงาน
1. วิเคราะห์ปัญหาและระบบงานที่จะทำถึงรายละเอียดข้อมูลที่ต้องใช้
ชาวสวนผักพบปัญหาว่า ผักน้ำหนักไม่ค่อยดี คือ เมื่อนำมาชั่งน้ำหนักแล้วเบามาก ซึ่งเขาปลูกผักทั้งหมด 5 ชนิด ซึ่งเขาเคยได้ทดลองซื้อปุ๋ยจากบริษัทต่าง ๆ มาใช้ แต่ก็ยังได้ผลไม่เต็มที่และมีราคาแพง ดังนั้นเขาจึงศึกษางานวิจัยพบว่าเขาสามารถผลิตปุ๋ยน้ำธรรมชาติใช้เองได้ ซึ่งมีสูตรการทำอยู่ทั้งหมด 5 สูตร
ปัญหา คือ ปุ๋ยสูตรใดดีที่สุด เพราะโดยธรรมชาติแล้วผักแต่ละประเภทเจริญเติบโตไม่เท่ากัน
ข้อมูล คือ น้ำหนักของผักทั้ง 5 ชนิดที่ชั่งใด
2. กำหนดรายละเอียดความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน
ต้องการทราบว่าปุ๋ยทั้ง 5 สูตร สูตรใดให้น้ำหนักเฉลี่ยของผักทั้ง 5 ชนิดสูงที่สุด
3. ออกแบบขั้นตอนวิธีการทำงานหรือออกแบบโปรแกรม
ขั้นตอนเพื่อหาคำตอบ
1. แบ่งผักทั้ง 5 ชนิดออกเป็น 5 แปรง คือ แปรงละ 5 ชนิด
2. ให้ปุ๋ยแต่ละแปรงต่างสูตรกันในระยะเวลาเท่า ๆ กัน คือ 2 เดือน
3. เมื่อครบกำหนด ให้นำผักจากแต่ละแปรงมาชั่งน้ำหนักทั้ง 5 ชนิด ๆละเท่ากัน
เช่น 1 ต้นเท่ากัน
4. กลุ่มใดมีน้ำนักมากที่สุด ถือว่าปุ๋ยสูตรนั้นดีที่สุด
4. เขียนชุดคำสั่งหรือโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมผู้เขียนจะต้องมีความรู้เรื่องการเขียนโปรแกรม เพราะต้องใช้ภาษาของการเขียนโปรแกรม ซึ่งโปรแกรมแต่ละอย่างจะใช้ภาษาไม่เหมือนกัน ตัวอย่างนี้คือการเขียนด้วยโปรแกรม BASIC programming language
10 CSL
20 PRINT “<< โปรแกรมคำนวณค่าเฉลี่ยของน้ำหนักผัก >>”
30 ZUMW = 0
40 FOR N = 1 TO 5
50 INPUT “น้ำหนักผักชนิดที่ :”;N,” = ”,W
60 ZUMW = ZUMW + W
70 NEXT N
80 AV = ZUMW / 5
90 PRINT “น้ำหนักผักโดยเฉลี่ยของกลุ่มนี้ = ”; AV
100 PRINT “จบการทำงาน”
5. ทดสอบโปรแกรมและหาจุดบกพร่อง
<< โปรแกรมคำนวณค่าเฉลี่ยของน้ำหนักผัก>>
น้ำหนักผักชนิดที่ : 1 = 145.21
น้ำหนักผักชนิดที่ : 2 = 144.90 น้ำหนักที่ป้อนเข้าสู่การประมวลผล
น้ำหนักผักชนิดที่ : 3 = 146.15
น้ำหนักผักชนิดที่ : 4 = 143.95
น้ำหนักผักชนิดที่ : 5 = 148.30
น้ำหนักผักโดยเฉลี่ยของกลุ่มนี้ = 145.702
จบการทำงาน
6. นำไปใช้งานจริง เมื่อทดสอบโปรแกรมจนแน่ใจว่าถูกต้องแล้ว เราก็จะนำโปรแกรมไปรวมทั้งระบบงานที่ได้ออกแบบขึ้นไปใช้งานจริง
7. บำรุงรักษา ติดตามผล และแก้ไขปรังปรุง สำหรับระบบงานที่ต้องนำไปปฏิบัติจริงอย่างต่อเนื่องเราจะต้องคอยบำรุงรักษาโปรแกรมรวมทั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานได้ตลอดไป และอาจต้องทำการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมให้ดีขึ้นไปเรื่อย ๆ
ใบงาน เรื่อง การสร้างระบบ กลุ่มที่…………..ไม่ต้องทำ
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนสร้างระบบงานโดยใช้คอมพิวเตอร์
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ชาวสวนผักพบปัญหาว่า ผักน้ำหนักไม่ค่อยดี คือ เมื่อนำมาชั่งน้ำหนักแล้วเบามาก ซึ่งเขาปลูกผักทั้งหมด 5 ชนิด ซึ่งเขาเคยได้ทดลองซื้อปุ๋ยจากบริษัทต่าง ๆ มาใช้ แต่ก็ยังได้ผลไม่เต็มที่และมีราคาแพง ดังนั้นเขาจึงศึกษางานวิจัยพบว่าเขาสามารถผลิตปุ๋ยน้ำธรรมชาติใช้เองได้ ซึ่งมีสูตรการทำอยู่ทั้งหมด 5 สูตร
ปัญหา คือ ปุ๋ยสูตรใดดีที่สุด เพราะโดยธรรมชาติแล้วผักแต่ละประเภทเจริญเติบโตไม่เท่ากัน
ข้อมูล คือ น้ำหนักของผักทั้ง 5 ชนิดที่ชั่งใด
2. กำหนดรายละเอียดความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน
ต้องการทราบว่าปุ๋ยทั้ง 5 สูตร สูตรใดให้น้ำหนักเฉลี่ยของผักทั้ง 5 ชนิดสูงที่สุด
3. ออกแบบขั้นตอนวิธีการทำงานหรือออกแบบโปรแกรม
ขั้นตอนเพื่อหาคำตอบ
1. แบ่งผักทั้ง 5 ชนิดออกเป็น 5 แปรง คือ แปรงละ 5 ชนิด
2. ให้ปุ๋ยแต่ละแปรงต่างสูตรกันในระยะเวลาเท่า ๆ กัน คือ 2 เดือน
3. เมื่อครบกำหนด ให้นำผักจากแต่ละแปรงมาชั่งน้ำหนักทั้ง 5 ชนิด ๆละเท่ากัน
เช่น 1 ต้นเท่ากัน
4. กลุ่มใดมีน้ำนักมากที่สุด ถือว่าปุ๋ยสูตรนั้นดีที่สุด
4. เขียนชุดคำสั่งหรือโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมผู้เขียนจะต้องมีความรู้เรื่องการเขียนโปรแกรม เพราะต้องใช้ภาษาของการเขียนโปรแกรม ซึ่งโปรแกรมแต่ละอย่างจะใช้ภาษาไม่เหมือนกัน ตัวอย่างนี้คือการเขียนด้วยโปรแกรม BASIC programming language
10 CSL
20 PRINT “<< โปรแกรมคำนวณค่าเฉลี่ยของน้ำหนักผัก >>”
30 ZUMW = 0
40 FOR N = 1 TO 5
50 INPUT “น้ำหนักผักชนิดที่ :”;N,” = ”,W
60 ZUMW = ZUMW + W
70 NEXT N
80 AV = ZUMW / 5
90 PRINT “น้ำหนักผักโดยเฉลี่ยของกลุ่มนี้ = ”; AV
100 PRINT “จบการทำงาน”
5. ทดสอบโปรแกรมและหาจุดบกพร่อง
<< โปรแกรมคำนวณค่าเฉลี่ยของน้ำหนักผัก>>
น้ำหนักผักชนิดที่ : 1 = 145.21
น้ำหนักผักชนิดที่ : 2 = 144.90 น้ำหนักที่ป้อนเข้าสู่การประมวลผล
น้ำหนักผักชนิดที่ : 3 = 146.15
น้ำหนักผักชนิดที่ : 4 = 143.95
น้ำหนักผักชนิดที่ : 5 = 148.30
น้ำหนักผักโดยเฉลี่ยของกลุ่มนี้ = 145.702
จบการทำงาน
6. นำไปใช้งานจริง เมื่อทดสอบโปรแกรมจนแน่ใจว่าถูกต้องแล้ว เราก็จะนำโปรแกรมไปรวมทั้งระบบงานที่ได้ออกแบบขึ้นไปใช้งานจริง
7. บำรุงรักษา ติดตามผล และแก้ไขปรังปรุง สำหรับระบบงานที่ต้องนำไปปฏิบัติจริงอย่างต่อเนื่องเราจะต้องคอยบำรุงรักษาโปรแกรมรวมทั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานได้ตลอดไป และอาจต้องทำการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมให้ดีขึ้นไปเรื่อย ๆ
ใบงาน เรื่อง การสร้างระบบ กลุ่มที่…………..ไม่ต้องทำ
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนสร้างระบบงานโดยใช้คอมพิวเตอร์
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)